คำควบกล้ำ


คำควบกล้ำ คืออะไร?



               คำควบกล้ำ (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู่ต้นพยางค์ และใช้สระเดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงกล้ำเป็นพยางค์เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์นั้นจะผันเป็นไปตามเสียงพยัญชนะตัวหน้า


                           เด็กๆสามารถเรียนรู้เรื่องคำควบกล้ำเพิ่มเติมจากวิดีโอของพี่ไทด้านล่างนี้นะคะ 


 

ข้อสังเกตคำควบกล้ำ

ข้อสังเกตของคำควบกล้ำมีอะไรบ้าง  ไปดูกันเลยค่ะ




๑. คำควบกล้ำเวลาสะกดต้องมีพยัญชนะต้นสองตัว โดยจะมี   ล ว รวมอยู่ในพยัญชนะต้น
      
เช่น      าบ    สะกดว่า      + อา + บ        อ่านว่า       กราบ
  
              แป     สะกดว่า    ป + แอ + ง        อ่านว่า      แปรง                
                กาง    สะกดว่า      + อา + ง       อ่านว่า      กลาง
                คาย    สะกดว่า      + อา + ย        อ่านว่า      ควาย
      
          แ    สะกดว่า    ข + แอ + น        อ่านว่า      แขวน

๒. เมื่อมีพยัญชนะต้นสองตัวแล้วแต่ต้องไม่อ่านออกเสียง อะกึ่งเสียงที่พยัญชนะต้น
    
เช่น        าด       สะกดว่า      ตล + อา + ด      อ่านว่า     ตะ - หลาด
                 สาย    สะกดว่า       + อา + ย       อ่านว่า      สวาย
                สว่าง      สะกดว่า      + อา + ง+     อ่านว่า      สว่าง

๓. คำควบกล้ำต้องไม่ใช่คำที่มี  ห  นำ
    เช่น        อก     สะกดว่า    + ออ + ก           อ่านว่า      หรอก
                 
ลั      สะกดว่า     + อะ + บ          อ่านว่า      หลับ
                 แห    สะกดว่า     + แอ+ น           อ่านว่า      แหวน

๔. 
ระวังคำที่มี สระอัว เพราะจะไม่ใช่คำที่มีควบกล้ำ
    
เช่น       สวย      สะกดว่า    ส + อัว + ย            อ่านว่า      สวย
                
ควร      สะกดว่า     ค +ัว +              อ่านว่า       ควร











แบบฝึกที่ ๑๕ "ผล"


แบบฝึกที่ ๑๔ "พล"


แบบฝึกที่ ๑๓ "พร"


แบบฝึกที่ ๑๒ "ตร"


แบบฝึกที่ ๑๑ "ปล"




แบบฝึกที่ ๑๐ "ปร"


แบบฝึกที่ ๙ "คว"


แบบฝึกที่ ๘ "คล"


แบบฝึกที่ ๗ "คร"


แบบฝึกที่ ๖ "ขว"


แบบฝึกที่ ๕ "ขล"


แบบฝึกที่ ๔ "ขร"


แบบฝึกที่ ๓ "กว"


แบบฝึกที่ ๒ "กล"


แบบฝึกที่ ๑ "กร"